วันพุธที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2556

วิจัยเรื่อง ความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา
 
                  

  
สรุปวิจัย


 เด็กปฐมวัยก่อนได้รับการจัดกิจกรรมเกมการศึกษามีความสามารถทางพหุปัญญาแต่ละด้านอยู่ในระดับปานกลาง หลังได้รับการจัดกิจกรรมเกมการศึกษาเด็กปฐมวัยมีความสามารถทาง
พหุปัญญาแต่ละด้านอยู่ในระดับสูง
                     เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมเกมการศึกษามีความสามารถทางพหุปัญญาทุกด้าน
คือความสามารถด้านภาษา ความสามารถด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ ความสามารถด้านมิติ
ความสามารถด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว ความสามารถด้านดนตรี ความสามารถด้านความ
เข้าใจระหว่างบุคคล ความสามารถด้านความเข้าใจตนเอง และความสามารถด้านธรรมชาติสูงขึ้น
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
 
                                          
                                            กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย

 คือ นักเรียนชาย - หญิง อายุระหว่าง 4 - 5 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนวัดหนองจอก (ภักดีนรเศรษฐ)ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) มา 1 ห้องเรียนแล้วสุ่มอย่างง่าย (Simplerandom sampling) จากนักเรียนห้องที่สุ่มได้โดยการจับสลากมาจำนวน 15 คน

     ตัวแปรที่ศึกษา
 
1. ตัวแปรอิสระ คือ กิจกรรมเกมการศึกษา
2. ตัวแปรตาม คือ ความสามารถทางพหุปัญญา ประกอบด้วย
2.1 ความสามารถด้านภาษา
2.2 ความสามารถด้านตรรกะและคณิตศาสตร์                                    
2.3 ความสามารถด้านมิติ
2.4 ความสามารถด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
2.5 ความสามารถด้านดนตรี
2.6 ความสามารถด้านความเข้าใจระหว่างบุคคล
2.7 ความสามารถด้านความเข้าใจตนเอง
2.8 ความสามารถด้านธรรมชาติ

นิยามศัพท์เฉพาะ

1. เด็กปฐมวัย หมายถึง นักเรียนชาย - หญิง อายุระหว่าง 4 - 5 ปี ที่กำลังศึกษาชั้นอนุบาล
ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนวัดหนองจอก (ภักดีนรเศรษฐ) สำนักงานเขตหนองจอก
กรุงเทพมหานคร
2. กิจกรรมเกมการศึกษา หมายถึง การจัดกิจกรรมให้เด็กเล่นเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และ
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน รวมถึงการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา
โดยเกมการศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมี 24 ชุด ซึ่งเป็นเกมที่มีกฎกติกาง่ายๆ ให้เด็กเล่นเกมเป็นกลุ่ม
ประกอบไปด้วยเกมภาพขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นเกมที่เด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายและพัฒนาพหุปัญญา
ทุกด้าน และเกมบัตรภาพขนาดเล็กที่เด็กเล่นเป็นกลุ่มเพื่อฝึกทักษะในด้านต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกับ
หน่วยการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ ลักษณะของเกมการศึกษาประกอบไปด้วย
2.1 เกมการศึกษาภาพขนาดใหญ่ หมายถึง เกมแผ่นภาพขนาดใหญ่ใช้เล่นบนพื้นโดย
ให้เด็กเป็นตัวเดินตามช่องตารางของเกม5
2.2 เกมการศึกษาบัตรภาพขนาดเล็ก หมายถึง เกมบัตรภาพที่จัดทำขึ้นโดยเรียงลำดับ
ความยากง่ายให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก โดยจัดให้เด็กได้เล่นเป็นกลุ่มบนโต๊ะ ฝึกทักษะการสังเกต
การคิดแก้ปัญหาและการตัดสินใจ ซึ่งสามารถจำแนกออกได้เป็น 5 ประเภท คือ เกมจับคู่ เกมจัดหมวดหมู่
เกมเรียงลำดับ เกมภาพตัดต่อและเกมโดมิโน โดยมีขั้นตอนในการทำกิจกรรมเกมการศึกษาดังนี้
ขั้นนำ เป็นการนำเข้าสู่การเล่นเกมโดยการร้องเพลงทำท่าทางประกอบเพลงและ
คำคล้องจองหรือดูภาพเกมสนทนาซักถามเพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจ และมีความพร้อมก่อน
การเล่นเกมขั้นดำเนินการ แนะนำชื่อเกม กติกาข้อตกลงการเล่นเกม สาธิตวิธีการเล่นเกมและเปิดโอกาสให้เด็กซักถามจนเข้าใจก่อนการเล่นเกมขั้นสรุป ร่วมกันสนทนาสรุปเนื้อหาสาระที่ได้จากการเล่นเกมและแสดงความรู้สึกต่อการเล่นเกม
3. ความสามารถทางพหุปัญญา หมายถึง ความสามารถทางปัญญาแต่ละด้านตามแนวคิด
ของโฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ที่เด็กปฐมวัยแสดงออกมา ซึ่งในงานวิจัยนี้ศึกษาความสามารถทางพหุปัญญา
8 ด้าน วัดได้จากแบบประเมินความสามารถทางพหุปัญญาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น พหุปัญญาทั้ง 8 ประกอบด้วย
3.1 ความสามารถด้านภาษา หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติตามคำสั่ง การสื่อสาร
การแสดงความคิดเห็น การพูดเล่าเรื่อง
3.2 ความสามารถด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ/
จัดหมวดหมู่/แยกประเภท การใช้ตัวเลขและจำนวน แก้ปัญหา การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ
สถานการณ์ต่างๆ
3.3 ความสามารถด้านมิติ หมายถึง ความสามารถในการมองเห็นและใช้พื้นที่
ตำแหน่งที่ตั้ง และการบอกทิศทางของสิ่งของ การบอกรูปร่างของสิ่งต่างๆ
3.4 ความสามารถด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว หมายถึง ความสามารถในการควบคุม
การเคลื่อนไหวของร่างกาย การใช้ร่างกายแสดงท่าทางต่างๆ การประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อ
มือกับประสาทตา
3.5 ความสามารถด้านดนตรี หมายถึง ความสามารถในการร้องเพลงการเคาะจังหวะ
3.6 ความสามารถด้านความเข้าใจระหว่างบุคคล หมายถึง ความสามารถในการเป็น
ผู้นำ - ผู้ตาม การรู้จักแบ่งปันการช่วยเหลือผู้อื่น การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การให้ร่วมมือ
การทำงานกลุ่ม
3.7 ความสามารถด้านความเข้าใจตนเอง หมายถึง ความสามารถในการรู้จักตนเอง
กล้าแสดงออกอย่างมั่นใจ มีความมั่นใจในการทำงาน
3.8 ความสามารถด้านธรรมชาติ หมายถึง การดูแลธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัว
การรู้จักใช้สิ่งแวดล้อมและธรรมชาติที่อยู่รอบตัวอย่างคุ้มค่า


 

วันจันทร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่16 วันพฤหัสบดีที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556

*+* อาจารย์ให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม โครงการส่งเสริมการใช้แก้วน้ำส่วนตัว ที่ลานแดง
 

สอบสอน กลุ่มที่3 หน่วยธรรมชาติ...(ทะเลแสนงาม)

*-*วิธีการสอน

1ใช้คำถาม เด็กๆเคยไปเทียวทะเลไหมมค่ะ แล้วที่ทะเลมีอะไรบ้าง
2ใช้นิทานเป็นสื่อการสอน เรื่องทะเล

 สอบสอน กลุ่มที่4 หน่วย...ผม




*-*วิธีการสอน

วันจันทร--ชนิดของผม

1นำเพลงมาสอนเด็ก เอามือจับผม จับไหล่ จับหัว ถามเด็กว่าตอนนี้เด็กๆกำลังจับอะไรอยู่
2จุดมุ่งหมายคือ อยากให้เด็กรู้เรื่องผมและการดูแลผม
3แตก map ของผม
4สอนลักษณะของผม
5การเปรียบเทียบผม ชนิดของผม
6การนำเสนอข้อมูล
-ลักษณะของผม/ผมตรง/ผมหยิก...
-หน้าที่ของผม
-อาชีพ
-วิธีการดูแลรักษา

ครั้งที่15 วันพฤหัสบดีที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556

เนื้อหาที่เรียน
 

   *-*สอบสอน กลุ่มที่ 2 หน่วยต้นไม้

วันจันทร์--ชนิดของต้นไม้

1เด็กบอกครูสิคะว่าในบ้านของเด็กๆมีต้นไม้ชนิใดบ้างการสอนของครูคือต้องให้เด็กเห็นภาพจริงและเด็กสามารถสัมผัสได้

 วันอังคาร--ลักษณะของต้นไม้

1เมื่อวานเด็กๆรู้จักต้นไม้อะไรบ้างคะ
2คณุนำต้นไม้มาให้เด็กๆสังเกต(สิ่งที่เด็กๆควรสักเกต เช่น ราก ใบ ลำต้น และความแตกต่างของต้นไม้ทั้งสองต้น)
เขียนแผนผังหรือตาราง
นำเสนอเป็นแผนภูมิวงกลม




วันพุธ--ส่วนประกอบของต้นไม้

1ครูใช้คำถามทบทวนความรู้เดิมของเด็กที่เรียนไปเมือวาน
2วันนี้ครูมีส่วนประกอบของต้นไม้มาให้เด็กๆดูนะคะ (รูปภาพ)
3ถามเด็กว่าต้นไม้มีส่วนประกอบอะไรบ้างคะ
3ครูอาจจะยกตัวอย่างของต้นไม้กับคน เช่น ราก-ปาก
4ได้เรื่องตำแหน่ง

 

















วันพฤหัสบดี--ประโยชน์ของต้นไม้

*-* ครูใช้นิทานเป็นสื่อการสอน

วันศุกร์--อันตรายจากต้นไม้

1ครูใช้คำถามกระตู่นความคิดของเด็ก
2ครูบอกข้อควรระวังเกี่ยวกับต้นไม้
3ครูมีภาพที่คนได้รับอัตรายจากต้นไม้มาให้เด็กดู
4ครูอาจจะพาเด็กๆไปสำรวจตันไม้รอบๆโรงเรียน


วันอาทิตย์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่14 วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2556

เนื้อหาที่เรียน

   
วันนี้กลุ่มของดิฉันออกมาสาธิตการสอน 

        เรื่อง ดิน




วันจันทร์---ชนิดของดิน (ของดิฉัน)

-เราถามด็กว่าเด็ๆรู้จักดินแบบไหนบ้างคะ เพื่อทอดสอบประสบการเดิม เป็นการแบ่งปันความรู้ มีส่วนร่วม คิดถึงเหตุการณ์
-เขียนลงบนกระดานตามที่เด็กบอก(เขียนให้อยู่ในเลขฐานสิบ)
-เีัขียนตัวเลขกำกับเพื่อให้เด็กนับ แล้วถามเด็กว่าดินมีทั้งหมดกี่ชนิด
เช่น
1ดินน้ำมัน
2ดินเหนียว
3ดินปืน
4ดินสอสี
5ดินทราย
6ดินร่วน
7ดินสอ
8ดินสอพอก
9ดินแดง
10ดินแดน

-หลังจากนั้นนำดินที่เราเตรียมมาใส่ตะกร้าหรือกล่งเพื่อที่จะให้เด็กลองคาดคะเน เด็กๆคะเด็กๆคิดว่าในตะกร้านี้มีอะไรคะ
-นำดินที่เราเตรียมว่าให้เด็กลองจับ สังเกต ถามเด็กว่าดินที่ครูเตรียมมามีกี่ชนิด ลักษณะของดินเป็นแบบไหน
-แล้วก็นแยกประเภท นำมาเที่ยบ1-1

วันอังคาร---ลักษณะของดิน

-นำดินที่เตรียมมาให้เด็กสัมผัส แล้วให้เด็กสังเกตความแตกต่าง สีของดิน ขนานของดิน รูปร่าง
-พอเด็กตอบนำมาเขียนเป็นตาราง
-นำเสนอเป็นแผนภูมิวงกลม
 แผนภูมิวงกลม

 







วันพุธ--สิ่งที่อยู่ในดิน

-พาเด็กออกไปข้างนอกหรือคณุเตรียมดินใส่ถุงแล้วนำ หอย ก้อนหิน ใส้เดื่อน เปลือกไม้ หนอน เป็นต้น





วันพฤหัสบดี--ประโยชน์ของดิน

-บอกถึงประโยชน์ของดิน
-เล่านิทาน ให้เชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์ หรือใช้เพลงก็ได้

วันศุกร์--ข้อควรระวัง

-บอกให้เด็กเข้าใจว่าในดินนั้นมีอะไรบ้าง
-อาจใช้หุ่นมือมาเลาานิทาน

*-* ในวันสุดท้ายควรให้เด็กได้ลองมือปฏิบัติจริง ได้ลงมือสัมผัส ให้เด็กทำกิจกรรมเตรียมดินปลูกต้นไม้


ครั้งที่13 วันพฤหัสบดีที่ 24 มกราคม 2556

เนื้อหาที่เรียนในวันนี้












หน่วยสาระที่จะสร้างขึ้นให้แยกออกเป็น 5 วันวันจันทร์-วันศุกร็์
ให้บูรณาการคณิตศาสตร์เข้าไปด้วย
พัฒนาการทางด้านสติปัญญา

อธิบายหัวข้อคุณหมอ
....เด็กๆรู้จักหมออะไรบ้างคะ
....รู้จักหมออยู่2ประเภทคือใกล้ตัวเด็กและเด็กรู้จัก
....เด็กอยากทราบไหมค่ะว่าหมอมีข้อแต่ต่างกันอย่างไร
....เด็กๆนับหมอฟันสิว่ามีกี่คน คุณหมอมีทั้งหมอเท่าไร

หลักในการเลือกหน่วยการเรียนรู้ให้กับเด็ก สิ่งที่ควรคำนึง

1ใกล้ตัวเด็ก
2มีผลกระทบกับเด็ก
3ในชีวิตประจำวัน

*-* เด็กเกิดประสบการณ์---ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5---ลงมือกระทำ---เป็นวิธีการเรียนรู้
*-* สิ่งที่เหมาะในการบอกประโชยน์คือ หยิบออกมาให้เห็น
*-* ช่วงความสนใจของเด็ก 20-25 นาที
*-* จังหวะที่เหมาะกับนิทาน
*-* การชั่งน้ำหนักด้วกิโล
                                                             
                               ตัวอย่างการวัดระยะทาง

วันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่12 วันพฤหัสบดีที่ 17 มกราคม 2556

                              


***มาตรฐานการเรียนรู้ของ สสวท.มี



1 จำนวนและการดำเนินการ
2 การวัด
3 เรขาคณิต
4 พีชคณิต
5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

1 สติปัญญา
1.1 การคิด-สร้างสรรค์-ใช้เเหตุผล
1.2 ภาษา

* เรียนรู้เรื่องจำนวน-การแทนค่า-รู้ค่า
* การวัด-เครื่องมือ-ได้ค่าและปริมาณ
* คำว่า ตรงกลาง คือสองข้างเท่ากัน
* คำว่า ระหว่าง คือต้องมีการผ่าน
* พีชคณิต-เข้าใจแบบรูป
*เรขาคณิต-รูปทรง ทิศทาง ตำแหน่ง ระยะทาง

                
                      



   *-*การเลือกหน่วยที่จะนำมาสอนเด็กปฐมวัย*-*





1 เรื่องใกล้ตัวเด็ก
2 มีประโยชน์กับเด็ก
3 เด็กรู้จัก
4 มีผลกระทบต่อเด็ก
5 มีความสำคัญกับเด็ก
6 เป็นเรื่องง่ายๆเด็กทำได้
7 เหมาะสมกับเด็ก

ครั้งที่11 วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม 2556

           
                  










เนื่อหาที่เรียนในวันนี้

*การทำ mind mapping การแตกเนื้อหา

*พัฒนาการของเด็กปฐมวัยแรกเกิด-6ปี
แรกเกิด-2ปี  ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
2ปี-4  ปีเริ่มพูดได้
4ปี-6ปี เริ่มใช้เหตุผล

****มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย

                  


สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการ



สาระที่2 การวัด


                

 สาระที่3 เรขาคณิต

                      


 สาระที่4 พีชคณิต
                

               
 สาระที่5 การวิเคราะข้อมูลและความน่าจะเป็น



                           
สาระที่6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์