วันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ครั้งที่ 5 วันพฤหัสบดีที่ 29 พฤศจิกายน2 555

-อาจาร์ให้ จับกลุ่มละ 2 คนออกมานำเสนองานขอบข่ายคณิตศาสตร์

-แบ่งออกเป็น 2 หน่วย


1.หน่วยสัตว์


1.การนับ นับสัตว์ที่อยู่ในสวนสัตว์ว่ามีกี่ตัว
  2.ตัวเลข แทนจำนวนจากมากไปหาน้อย


    3.การจับคู่ จับคู่สัตว์บก และสัตว์น้ำว่ามีกี่ตัว

              
    4. การแยกประเภท สัตว์บก และ สัตว์น้ำ

   5.การเปรียบเทียบ สัตว์บกกับสัตว์นำชนิใดมากกว่า

6.การจัดลำดับ จากนัอยไปหามากปหามาก


      7.รูปทรงและเนื้อที่ การสร้างที่อยู่ของสัตว์เป็นรูปสี่เหลี่ยม
       8.การวัด วัดที่อยู่ของสัตว์,อาหารที่สัตว์กิน


    9.เซต สัตว์กินพืชและสัตว์กินสัตว์

       10.เศษส่วน แบ่งนกในกรงให้มีจำนวนที่เท่ากัน


    11.การทำตามแบบหรือลวดลาย แบ่งสัตว์ในกรงให้เท่าๆกัน
        12.อนุรักษ์หรือคงที่ด้านปริมาณ เช่น ดีนน้ำมันที่เท่ากันแต่ปันเป็นช้างและนก



   2.หน่วยผัก




  1.การนับ นับผักในตะกร้าว่ามีผักอะไรบ้างเช่น1แครอท2.คะน้า3.ผักกาด



    2.ตัวเลข นำผักที่นับออกมาจากตะกร้าเรียงลำดับเลขที่123...


3.การจับคู่ จำนวนและตัวเลข





4.การจัดประเภท แยกผักใบเขียวและใบสีอื่น




      
      5.การเปรียบเทียบ รูปทรง>ขนาด, มาก>น้อย

     


 6.การจัดลำดับ เรียงลำดับจากน้อยไปหามาก





 7.รูปทรงและเนื้อที่ เช่นแครอท1หัวใส่ในตะกร้าได้พอดี

วันเสาร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ครั้งที่4 วัน พฤหัสบดี ที่ 22 พฤศจิกายน 2555


อาจายร์สอนเรื่องขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับเด็กปฐมวัย

1. การนับ เป็นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก เป็นการนับอย่างมีความหมาย เช่น การนับตามลำดับตั้งแต่ 1ถึง 10 หรือมากกว่านั้น

 การฝึกให้เด็กเขียนตัวเลขลงในช่อง  ...........ว่ามีกี่ตัว

 

ตัวเลขไทย    หนู   .......๒ .....ตัว

ตัวเลขอารบิค   หนู  .....2 .....ตัว

ตัวอังกฤษ    หนู  ……Two .... ตัว

   

2. ตัวเลข เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน ให้เด็กเล่นของเล่นเกี่ยว กับตัวเลขให้เด็กได้นับและคิดเอง โดยผู้เลี้ยงดูเด็กเป็นผู้วางแผนจัดกิจกรรม



3. การจับคู่ เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกต ลักษณะต่างๆ และจับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกันหรือ อยู่ประเภทเดียวกัน




4. การจัดประเภท เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตคุณสมบัติของ สิ่งต่างๆ ว่ามีความแตกต่าง หรือเหมือนกัน ในบาง เรื่อง และสามารถจัดเป็นประเภทต่าง ๆ ได้


5. การเปรียบเทียบ เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่งหรือมากกว่า รู้จักใช้คำศัพท์ เช่น ยาวกว่า สั้นกว่า หนักกว่า เบากว่า



6. การจัดลำดับ เป็นเพียงการจัดสิ่งของชุดหนึ่ง ๆ ตามคำสั่งหรือตามกฎ เช่น จัดบล็อก 5 แท่งที่มีความยาวไม่เท่ากันให้เรียงตามลำดับจากสูงไปต่ำ หรือจากสั่นไปยาง เป็นต้น



7. รูปทรงและเนื้อที่ นอกจากให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องรูปทรงและเนื้อที่จากการเล่นตาม ปกติแล้ว ผู้เลี้ยงดูเด็กยังต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กได้เรียนรู้ เกี่ยวกับ วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความ ลึกตื้น กว้างและแคบ



8. การวัด มักให้เด็กลงมือวัดด้วยตนเอง ให้รู้จักความยาวและ ระยะ รู้จักการชั่งน้ำหนัก และรู้จักการประมาณอย่างคร่าวๆ ก่อน ที่เด็กจะรู้จักการวัด ควรให้เด็กได้ฝึกฝนการเปรียบเทียบและ การจัดลำดับมาก่อน



9. เซต เป็นการสอนเรื่องเซตอย่างง่าย ๆ จากสิ่งรอบ ๆ ตัว มีการเชื่อมโยงกับสภาพรวม เช่น รองเท้ากับถุงเท้าถือเป็นหนึ่งเซต หรือในห้องเรียนมีบุคคลหลายประเภท แยกเป็นเซตได้ 2 เซต คือ นักเรียน ผู้เลี้ยงดูเด็กประจำชั้น เป็นต้น



10. เศษส่วน ปกติการเรียนเศษส่วนมักเริ่มเรียนในชั้นประถม แต่ผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัยสามารถสอนได้โดยเน้นส่วนรวมให้เด็กเห็นก่อน การลงมือปฏิบัติเพื่อให้เด็กได้เข้าใจความหมายและมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับครึ่งหรือ ?


11. การทำตามแบบหรือลวดลาย เป็นการพัฒนาให้เด็กจดจำรูปแบบหรือลวดลาย และพัฒนาการจำแนกด้วยสายตาให้เด็กฝึกสังเกต ฝึกทำตามแบบ และต่อให้สมบูรณ์



12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ ช่วงวัย 5 ปีขึ้นไป ผู้เลี้ยงดูเด็กอาจเริ่มสอนเรื่องการอนุรักษ์ได้บ้าง โดยให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้เด็กมีความคิดรวบยอดเรื่องการอนุรักษ์ที่ว่า ปริมาณของวัตถุจะยังคงที่ไม่ว่าจะย้ายที่หรือทำให้มีรูปร่างเปลี่ยนไปก็ตาม



 เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์     
    การเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับปฐมวัย มุ่งหวังให้เด็กทุกคนได้เตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์อันเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา โดยกำหนดสาระหลักที่จำเป็นสำหรับเด็ก ได้แก่
จำนวนและการดำเนินการ จำนวน การรวมกลุ่ม และการแยกกลุ่ม การวัด ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา เรขาคณิต ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง รูปเรขาคณิตสามมิติและรูปเรขาคณิตสองมิติ พีชคณิต แบบรูปและความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำเสนอ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์
     
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย     
 มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก รวมทั้งเป็นแนวทางในการกำกับ ตรวจสอบ และประเมินผล มาตรฐานการเรียนรู้จัดให้อยู่ภายใต้สาระหลัก ดังนี้
      สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ มาตรฐาน ค.ป. 1.1 : เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน และการใช้จำนวนในชีวิตจริง
      สาระที่ 2 : การวัด มาตรฐาน ค.ป. 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา
      สาระที่ 3 : เรขาคณิต มาตรฐาน ค.ป. 3.1 : รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง มาตรฐาน ค.ป. 3.2 : รู้จัก จำแนกรูปเรขาคณิต และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการจัดกระทำ
      สาระที่ 4 : พีชคณิต มาตรฐาน ค.ป. 4.1 : เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
      สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค.ป. 5.1 : รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อม และนำเสนอ
      สาระที่ 6 : ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ครูควรคอยสอดแทรกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ตามความเหมาะสมกับระดับอายุ

วันเสาร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ครั้งที่ 3 วัน พฤหสบดี ที่15 2555


*อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มละ3คนเขียนหมายของคณิตศาสตร์ที่เราไปหามาสรุปลงใบงาน

กลุ่มดิฉันได้ให้ความหมายดั้งนี้
การปฏิบัติเกี่ยวกับจำนวนห้นาที่และความสัมพันธ์ของจำนวนจะเน้นไปในทางจำแนกสิ่งต่างๆการเปรียบเทียบและการเรียนรู้สัญลักณ์ของคณิตศาสตร์ชึ่งเด็กจะเรียนรู้ได้จากกิจกรรมปฏิบัติการคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นทักษะทางคณิตศาสตร์ที่นำไปสู่การคิด การบวก การลบ
   
 อ้างอิงจากหนังสือ
-หนังสือการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้แต่งรส. ดร. กุลยา ตันผลาชีวะ 2551หน้า 155 ,157 ,160 ,161

เทคนิกการเรียนเด็กเกล่ม เช่น การร้องเพลง,การปรบมือ
-อาจารย์ให้ร้องเพลงเก็บเด็ก

กลุ่มไหน กลุ่มไหน     รีบเร็วไว หากลุ่มพลัน
อย่า....มัวชักช้า           เวลาจะไม่ทัน
ระวังจะเดินชนกัน        เข้ากล่มพลันว่องไว ๆ


 *รูปภาพในห้องเรียน/บรรยากาศในหห้องเรียน*


วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ครั้งที่2 วัน พฤหัสบดี ที่ 8  พฤศจิกายน 2555


 

-การจัดกลุ่มคือ.การทำให้วัตถุตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปมีคุณสมบัติพื้นฐานร่วมกัน เพื่อช่วยในการเคลื่อนย้ายรูปภาพกลุ่มนั้นให้อยู่ในตำแหน่งที่เราต้องการทั้งหมด เช่น วงกลม 2 รูปที่ทำการจัดกลุ่มแล้วนั้น เมื่อเราเคลื่อนย้ายวงกลมหนึ่งวงกลมที่เหลือจะเคลื่อนที่ตามไปด้วย

-หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งกลุ่ม

โต๊ะ / รูปร่าง
หน้าต่าง,ประตู / รูปทรง
กระเป๋าต้ง / จำนวน
กระเป๋า / จำนวน,รูปร่าง,นำหนัก,ขนาด(ความก้วาง,ความยาว),ความจุ,รูปแบบ

-สือการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คือ เป็นเป็นเครื่องมือของการเรียนรู้ ทั้งนี้เพราะสื่อเป็นตัวกลางให้ผู้สอนได้ถ่ายทอดความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ความคิดเห็น และ เจตคติ ไปสู่ผู้เรียน รวมทั้งการใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองการพัฒนาสื่อที่ทาให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ด้วยตนเองเป็นสิ่งสาคัญ

-รูปร่างไม่เท่ากัน เช่น วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หกเหลี่ยม สี่เหลี่ยมผืนผ้า สี่เหลี่ยมด้านขนาน สี่เหลี่ยมจตุรัต วงรี

-การเปรียบเทียบ/การประมวลผล


-สือการจัดประสบการด็กปฐมวัย > คือสือที่จับต้องได้


-ภาษาจะไม่เกิดขึ้นถ้าภาษาไม่พร้อม
   
เด็ก5ขวบ > ใช้เหตุผล > เด็กสามารถตอบได้โดยใช้เหตุผลโดยไม่ตอบตามตาเห็น
    เช่น     การเทนำใส่แก้วทรงสูงและแก้วทรงเตี้ย
> ถ้าเด็กตอบว่าแก้วทรงเตี้ยมีนำมากกว่าแสดงว่าเด็กตอบตามที่ตาเห็น
> แต่ถ้เด็กตอบว่านำเท่ากันเพระมาจากที่เดี่ยวกันแสดงว่าเด็กใช้เหตุผล

-เด็กแรกเกิด-2ปีใช้ประสาทสัมพัมผัสทั้งห้า
    เช่น
1 ตา / เห็น
2 หู / ได้ยิน
3 จมูก / ได้กลิ่น
4 ลิ้น / ลิ้มรส
5 กาย / สัมผัส

-คณิตศาสตร์มีอยู่รอบตัว


การเรียนรู้รอบตัวเด็ก

        สิ่งต่างๆที่สามารถพบเห็นในชีวิตประจำวันให้กลายเป็น"แผ่นสัมผัส" โดยได้พัฒนาชุดอุปกรณ์ที่เรียกว่า "เมคกี้เมคกี้" (MakeyMakey) ซึ่งสามารถเปลี่ยนผลไม้, สัตว์ หรือแม้กระทั่งมนุษย์ ให้กลายเป็นคีย์บอร์ดได้


-ถ้าเราเอาสิ่ที่เกินพฒนาการเด็กก็จะไม่อยากเรียน










วันอาทิตย์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ครั้งที่1 วัน พฤหัสบดี ที่ 1 พฤศจิกายน 2555

    การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

    อธิบายถึงความหมายเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยสามารถแยกออกมาได้ 3 ประเภท
1การจัดประสบการ
2คณิตศาสตร์
3เด็กปฐมวัย ได้แก่
 
-พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงที่แน่นอนตามลำดับขั้น (วัย) ของบุคคล  ตั้งแต่เกิดจนตาย    การเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้บุคคลมีพฤติกรรมที่เป็นระบบระเบียบมากขึ้น   สลับซับซ้อนยิ่งขึ้น  ปรับตัวได้มากยิ่งขึ้น  และมีประสิทธิภาพมากขึ้น   
 เช่น พัฒนาการด้านร่างกายของเด็กแรกเกิด
พลิก/ควำ/คลืบ/คลาน/นั่ง/ยืน/ดิน/วิ่ง

-การเรียนรู้ คือ "การเรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมพัมผัสทั้งห้าที่กระทำกับวัตถุ"

1 ตา / เห็น
2 หู / ได้ยิน
3 จมูก / ได้กลิ่น
4 ลิ้น / ลิ้มรส
5 กาย / สัมผัส

-การรับรู้ คือ การแปลความหมายจากการสัมผัส โดยเริ่มตั้งแต่ การมีสิ่งเร้ามา กระทบกับอวัยวะรับสัมผัสทั้งห้า และส่งกระแสประสาท ไปยังสมอง เพื่อการแปลความ

-กระบวนการของการรับรู้ (Process) เป็นกระบวนการที่คาบเกี่ยวกันระหว่างเรื่องความเข้าใจ การคิด
การรู้สึก (Sensing) ความจำ (Memory) การเรียนรู้ (Learning) การตัดสินใจ (Decision making)
 Sensing -----> Memory ------> Learning -------> Decision making
-กระบวนการรับรู้ จะเกิดได้จะต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้
1. มีสิ่งเร้า ( Stimulus ) ที่จะทำให้เกิด การรรับรู้ เช่น สถานการณ์ เหตุการณ์ สิ่งแวดล้อม รอบกาที่เป็น คน สัตว์ และสิ่งของ
2. ประสาทสัมผัส ( Sense Organs ) ที่ทำให้เกิดความรู้สึกสัมผัส เช่น ตาดู หูฟัง จมูกได้ กลิ่น ลิ้นรู้รส และผิวหนังรู้ร้อนหนาว
3.
ประสบการณ์ หรือความรู้เดิม ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเร้าที่เราสัมผัส
4. การแปลความหมายของสิ่งที่เราสัมผัส สิ่งที่เคยพบเห็นมาแล้วย่อมจะอยู่ในความทรงจำของสมอง เมื่อบุคคลได้รับสิ่งเร้า

การทำงานของสมอง